วันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2551

ลมพิษ

ลมพิษ
สาเหตุ
  • โดนสารที่แพ้,พืช,สารเคมี,แพ้อาหารทะเล,เหล้า,เบียร์,ละอองต่างๆ
การปฐมพยาบาล
  1. ทายาแก้ผื่นคัน,คาลาไมน์,เพรดนิโซโลนครีม,เบตาเมทธาโซนครีม
  2. กินยาแก้แพ้ คลอเฟนนิรามีน ขนาด4มก.1เม็ด
  3. หาสาเหตุที่แพ้
  4. ถ้าผื่นไม่ยุบลง และเพิ่มมากขึ้นให้รีบไปพบแพทย์

  5. ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้นสถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

วันอังคารที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2551

หัดสร้างหัดลอง






27MHz
ทดลองโดยการสั่งชุดคิดมาประกอบ ได้ระยะในการรับส่ง40-80เมตรในที่โล้ง

วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2551

โดนพิษสัตว์ทะเล

โดนพิษสัตว์ทะเล
โดนเงี่ยงปลาที่มีพิษ
  • แช่น้ำร้อนพอทน(40'C หรือ 104'F) นาน4-5นาที จะช่วยให้หายปวด
โดนแมงกระพรุนไฟ
  1. ใช้ทรายหรือผักบุงทะถูเมือกออก
  2. ล้างด้วยน้ำสบู่
  3. ทาด้วยน้ำปูนใส,แอมโมเนีย,เพรดนิโซโลนครีม,หรือเบตาเทธธาโซนครีม
ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

โดนพิษสัตว์ทะเล

โดนพิษสัตว์ทะเล
โดนเงี่ยงปลาที่มีพิษ
  • แช่น้ำร้อนพอทน(40'C หรือ 104'F) นาน4-5

ทากดูดเลือด

ทากดูดเลือด
  1. ห้ามดึง เพราะเลือดจะหยุดยาก
  2. จี้ทากด้วยบหรี่ติดไฟ หรือไม้ขีดติดไฟให้ทากหลุด
  3. ล้างแผลให้สะอาด ใส่ทิงเจอร์แผลสด เบตาดีน

ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

วันศุกร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2551

สัตว์กัด

สัตว์กัด
สุนัขกัด
  1. ถ้าเลือดออก ห้ามเลือดทันที (ด้วยผ้าก็อซหรือบีบแผล)
  2. ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด ปิดแผลด้วยผ้าก็อซสะอาด
  3. รีบไปพบแพทย์ เพื่อฉีดวัคซีน
งูกัด
  1. ดูรอยแผล ถ้าเป็นงูพิษจะมีรอยเขี้ยง
  2. ใช้เชือกรัดหรือยาง หรือเข็มขัดรัดเหนือแผลให้แน่นพอควร
  3. ให้นอนนิ่งๆคอยปลอบใจ
  4. ห้ามดื่มสุรา, ยาดองหล้า, ยากล่อมประสาท
  5. ถ้่หยุดหายใจให้ช่วยหายใจทันที
  6. ควรนำงูไปพบแพทย์ด้วย
แมลงต่อย
  1. ถ้าถูกต่อยหายตัว หรือต่อยบริเวณหน้า ให้ีรีบไปพบแทย์
  2. พยายามถอนเหล็กไน(โดยใช้หลอดการแฟเล็กๆแข็งๆ หรือปากกาครอบแล้วกดให้เหล็กในโผล่ แล้วดึงเหล็กไนออก)
  3. ใช้ยาแก้แพ้ทา หรือราดด้วยน้ำโซดา หรือประคบด้วยน้ำแข็ง(ปกติอาการบวมจะลดลงใน 1 วันถ้าไม่ลดให้แทย์)
  4. ถ้ามีอาการปวด กินยาแก้ปวด(พาราเซตามอล)

ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ไฟฟ้าช็อต

ไฟฟ้าช็อต
  1. รีบปิดสวิตซ์ไฟทันที
  2. ถ้าไม่สามารถปิดสวิตซ์ไฟได้ ห้ามใช้มือจับต้องคนที่กำลังถูกไฟช็อต ให้นำสิ่งที่ไม่นำไฟฟ้า เช่น ไม้กวาด, เก้าอี้ไม้ เขี่ยออกจากสายไฟ หรือเขี่ยสายไฟออกจากตัวผู้บาดเจ็บ
  3. เมื่อผู้ป่วยหลุดออกมาแล้ว รับปฐมพยาบาล ถ้าหยุดหายใจ ให้ทำการเป่าปากช่วยหายใจ ถ้าคลำชีพจรไม่ได้ให้นวดหัวใจด้วย แล้วรีบนำส่งโรงพยาบาลด้วย
ที่มา คู่มืิอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น" สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

สำลักหรือมีสิ่งของไปอุดหลอดลม

สำลักหรือมีสิ่งของไปอุดหลอดลม

  1. ทารก --ตบอย่างรวดเร็วกลางหลัง 4 ครั้ง ในท่าที่ศรีษะอยู่ต่ำกว่าปอด
  2. เด็กเล็ก ---ตบกลางหลังหนัก ๆ 4 ครั้ง ในท่าที่ศรีษะอยู่ต่ำกว่า
  3. เด็กโตและผู้ใหญ่ --ตบหนัก ๆ และเร็ว ๆ กลางหลัง 4 ครั้งในท่าที่ศรีษะอยู่ต่ำกว่าปอด


ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ช็อค

ช็อค
สาเหตุ
โรคหัวใจกำเริบ ,บาดเจ็บรุนแรง , เลือดออกมาก ,ไฟไหม้น้ำร้อนลวก ,กระดูกหัก ,อาเจียน หรือท้องเสียรุนแรง

อาการ
• หนาวเย็น ,เหงื่อออก , เวียนศรีษะ , หายใจเร็วขึ้น ,ชีพจรเร็วแต่แผ่ว ,กลัว ,กระหาย

การปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล
• ให้นอนราบ ,ถ้าเลือดออกห้ามเลือด ,ห่มผ้า ,คลายเสื้อผ้า
• อย่าเคลื่อนไหวผู้ป่วย, ถ้าบาดเจ็บที่อก, ท้อง, ศรีษะ ให้หนุนศรีษะและบ่าให้สูงกว่าลำตัวเล็กน้อย คอยปลอบใจ
• ถ้ากระหายน้ำมาก ให้หยดน้ำที่ริมฝีปากนิด ๆ (ห้ามรัปประทานสิ่งใดๆ)


ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

วันพฤหัสบดีที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2551

เลือดออก

เลือดออก
1.
ใช้นิ้วกดบาดแผลประมาณ10นาทีหรือบีบเนื้อข้างๆมาปิดแผล

2.ใช้ผ้าหรือเน็คไทพันปิดแผลไว้(อย่าให้แน่นจนชา)

3.แผลที่แขน ขาให้ยกสูง ถ้าเลือดไหลไม่ให้กดเส้นเลือดใหญ่ที่ไปเลี้ยงแขน ขา


ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

เลือดออก

เลือดออก

1.ใช้นิ้วกดบาดแผลประมาณ10นาทีหรือบีบเนื้อข้างๆมาปิดแผล

2.ใช้ผ้าหรือเน็คไทพันปิดแผลไว้(อย่าให้แน่นจนชา)

3.แผลที่แขน,ขาให้ยกสูงถ้าเลือดไหลไม่ให้กดเส้นเลือดใหญ่ที่ไปเลี้ยงแขน ขา

กระดูกหัก

กระดูกหัก

1. วางอวัยวะส่วนนั้นบนแผ่นไม้หรือหนังสือหนา ๆ

2. ใช้ผ้าพันยึดไม่ให้เคลื่อนไหว

3. ถ้าเป็นปลายแขนหรือมือใช้ผ้าคล้องคอ


ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ความปลอดภัยสำหรับเด็ก

ความปลอดภัยสำหรับเด็ก
1. อย่าปล่อยทารกหรือเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบไว้กับสิ่งใดที่อุดตันทางเดินหายใจได้ เช่นถุงพลาสติก ให้เลือกของเล่นชิ้นใหญ่ ๆ ที่ใส่ปากไม่ได้
2. อย่าให้หมอนกับทารกอายุต่ำกว่า 1 ปี
3. อย่าทิ้งทารกไว้กับขวดนมหรืออาหารนมหรืออาหารตามลำพัง (เพราะอาจทำให้เด็กสำลักได้)
4. ห้ามให้ถั่วลิสง ,น้อยหน่า, มะขาม แก่เด็กอายุต่ำกว่า 3 ขวบ
5. อย่าปล่อยเด็กทารกไว้บนเตียงกับคุณนาน ๆ (เพราะอาจเผลอหลับทับเด็กได้)
6. อย่าปล่อยเด็กหรือทารกไว้บนที่ยกสูงตามลำพัง
7. รถหัดเดินควรมีฐานและล้อที่แข็งแร็ง
8. อย่าปล่อยเด็กหรือทารกไว้บนเก้าฮี้สูงโดยไม่มีเครื่องรัดตัว
9. อย่าให้เด็กสวมถุงหน้าเดินไปเดินมา
10. อย่าวางแจกันแก้ว ,กาน้ำร้อนไว้บนโต๊ะเตี้ย หรือในระยะที่เด็กเอื้อมมือถึง
11. หาที่ครอบปลั๊กไฟและสอนไม่ให้เล่นปลั๊กไฟ ,พัดลม เมื่อเด็กเรียนรู้และสอนจุดอันตรายต่างๆ ให้เด็กทราบ
12. ห้ามเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบข้ามถนนตามลำพังและจูงมือเด็กที่ต่ำกว่าอายุ 5 ขวบข้ามถนนเสมอ
13. อย่าถือของร้อน ,ถ้วยกาแฟร้อน ๆ เหนือศรีษะเด็ก
14. บ้านที่มีเด็กในวัยหัดเดินเตาะแตะ ไม่ควรใช้ผ้าปูโต๊ะที่มีชายให้เด็กดึงได้

กรดหรือด่างเข้าตา

  • อย่าขยี้ตา ,ล้างด้วยน้ำสะอาดมาก ๆ
  • รีบไปพบแพทย์

ถูกของแหลมทิ่ม

  • ให้นอนหลับตา
  • ปิดตาด้วยผ้ากอซหรือผ้าเช็ดหน้า
  • อย่าขยับสายตาไปมา
  • รีบพบแพทย์ทันที

สิ่งแปลกปลอมเข้าตาขาว

  • ขยี้ตาเบา ๆ กระพริบตา ล้างตาหรือเงยสายตาขึ้นด้านบน
  • ใช้มุมผ้าเช็ดหน้าเขี่ยผงออก
  • ถ้าไม่ออก ไปพบแพทย์

ถูกกระแทกที่ดวงตา

  • ประคบด้วยความเย็นทันที
  • รีบไปพบแพทย์
ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ยาที่ควรมีไว้ในตู้ยาประจำบ้าน

ยาที่ควรมีไว้ในตู้ยาประจำบ้าน

1. ยาแก้ปวดลดไข้ : ยาเม็ดพาราเซตามอล 500 มก.

2. ยาแก้แพ้,ลดน้ำมูก : ยาเม็ดคลอเฟนิรามีน 4 มก. ,2 มก.

3. ยาแก้ปวดท้องท้องอืด ท้องเฟ้อ : ยาธาตุน้ำแดง ,ยาธาตุน้ำขาว , โซดามิ้นท์ , ขมิ้นชันแคปซูล

4. ยาโรคกระเพาะ : ยาเม็ดอลูมินาเมกนีเซีย , ไตรซิลิเคท

5. ยาแก้ท้องเสีย : ยาน้ำเคาลินเปคติน ผงน้ำตาลเกลือแร่

6. ยาใส่แผล : ทิงเจอร์ใส่แผลสด , ไอโปดีน

7. ยาล้างตา : โบริคโซลูชั่น

8. ยาล้างแผล เช็ดแผล : ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ , แอลกอฮอล์เช็ดแผล

9. ยาทาแก้แพ้แก้คัน : คาลาไมน์

10. ยาทานวด : ขี้ผึ้งปวดบวม , ครีมระกำ , GPO บาล์ม

11. ยาแก้ไอผู้ใหญ่ : ยาแก้ไอน้ำดำ , ยาขับเสมหะ

12. ยาแก้ไอเด็ก : ยาแก้ไอขับเสมหะ , ยาแก้ไอเด็กเล็ก ,

13. ยาระบาย : ยาระบายเม็กนีเซีย , มะขามแขก , ยาเม็ดมะขามแขก

14. ยาสูดดม : เหล้าแอมโมเนีย


ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข


ยาที่ควรมีไว้ในตู้ยาประจำบ้าน

ยาที่ควรมีไว้ในตู้ยาประจำบ้าน

1. ยาแก้ปวดลดไข้ : ยาเม็ดพาราเซตามอล 500 มก.

2. ยาแก้แพ้,ลดน้ำมูก : ยาเม็ดคลอเฟนิรามีน 4 มก. ,2 มก.

3. ยาแก้ปวดท้องท้องอืด ท้องเฟ้อ : ยาธาตุน้ำแดง ,ยาธาตุน้ำขาว , โซดามิ้นท์ , ขมิ้นชันแคปซูล

4. ยาโรคกระเพาะ : ยาเม็ดอลูมินาเมกนีเซีย , ไตรซิลิเคท

5. ยาแก้ท้องเสีย : ยาน้ำเคาลินเปคติน ผงน้ำตาลเกลือแร่

6. ยาใส่แผล : ทิงเจอร์ใส่แผลสด , ไอโปดีน

7. ยาล้างตา : โบริคโซลูชั่น

8. ยาล้างแผล เช็ดแผล : ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ , แอลกอฮอล์เช็ดแผล

9. ยาทาแก้แพ้แก้คัน : คาลาไมน์

10. ยาทานวด : ขี้ผึ้งปวดบวม , ครีมระกำ , GPO บาล์ม

11. ยาแก้ไอผู้ใหญ่ : ยาแก้ไอน้ำดำ , ยาขับเสมหะ

12. ยาแก้ไอเด็ก : ยาแก้ไอขับเสมหะ , ยาแก้ไอเด็กเล็ก ,

13. ยาระบาย : ยาระบายเม็กนีเซีย , มะขามแขก , ยาเม็ดมะขามแขก

14. ยาสูดดม : เหล้าแอมโมเนีย


ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข


อุปกรณ์ปฐมพยาบาล

อุปกรณ์ปฐมพยาบาล
1. สำลี
2. ผ้ากอซแผ่นชนิดฆ่าเชื้อ ทำความสะอาด (แอลกอฮอล์)
3. คีมสำหรับบ่งเสี้ยน
4. ผ้าสามเหลี่ยม
5. ผ้ากอซพันแผลขนาดต่างๆ
6. กรรไกรขนาดกลาง
7. เข็มกลัดซ่อนปลาย
8. แก้วล้างตา
9. พลาสเตอร์ม้วน ชิ้น
10. ผ้ายืดพันแก้เคล็ดขัดยอก ( Elsatic bandage)
11. ผ้ากอซชุลพาราฟินสำหรับแผลไฟไหม้
ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

การปฏิบัติสำหรับกรณีฉุกเฉิน

การปฏิบัติสำหรับกรณีฉุกเฉิน

1. ตั้งสติให้ได้อย่าตกใจ

2. ขอความช่วยเหลือ

3. ปฐมพยาบาลเบื้องต้น

o ช่วยหายใจ ให้อากาศเข้าปอดสะดวก คลายเสื้อผ้าให้หลวม

o ห้ามเลือด

o นอนนิ่งๆ ห่มผ้า คอยสังเกตอาการ จับชีพจรเป็นระยะ

o ถ้ามีกระดูกหักอย่าเคลื่อนย้าย

o ห้ามรัปประทานสิ่งใด (ถ้าไฟลวกรุนแรงให้จิบน้ำคำเล็กๆ)

วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2551

หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  • การปฏิบัติสำหรับกรณีฉุกเฉิน
  • อุปกรณ์ปฐมพยาบาล
  • ยาที่ควรมีไว้ในตู้ประจำบ้าน
  • ความปลอดภัยสำหรับเด็ก
  • บาดเจ็บที่ตา
  • กระดูกหัก
  • เลือดออก
  • ช็อค
  • สำลักหรือมีสิ่งของไปอุดหลอดลม
  • ไฟฟ้าช็อต
  • สัตว์กัด
  • ทากดูดเลือด
  • โดนพิษสัตว์ทะเล
  • ลมพิษ
  • เลือดกำเดาออก
  • เลือดออกไม่หยุดหลังการถอดฟัน
  • ของเข้ารูจมูก
  • เกี่ยวกับหู
  • หอบหืด
  • พุ-พอง
  • ฟกซ้ำ หัวโน ห้อเลือด
  • ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
  • ข้อเคล็ด
  • การทำแผลทั่วไป
  • อาการปวดท้องที่ควรไปพบแพทย์ทันที
  • ท้องเดิน ท้องร่วง ท้องเสีย
  • ท้องผูก
  • ก้างติดคอ
  • ตะคริว
  • กินยาพิษ

  • ที่มาคู่มีอประชาชน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น "สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
  • มีต่อ